Thursday, January 31, 2013

สรุปข้อมูลต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ด

สรุปข้อมูลต่างๆ ในการเลี้ยงเป็ด



ระยะเป็ดเล็ก
ระยะเป็ดรุ่น
ระยะเป็ดไข่
อัตราส่วนของพื้น (ตัว/ตร.ม.)
-
-
-
เป็ดพันธุ์
เป็ดไข่
เป็ดเนื้อ

5.5
5.5
7 (ตลอดอายุ)

2
5


2
5

อัตราส่วนของรางอาหาร (นิ้ว/ตัว)
1
2
2
อัตราส่วนของรางน้ำ (นิ้ว/ตัว)
ใช้กระติกน้ำ 1 ใบ ต่อ 50 ตัว
1
1
จำนวนลูกเป็ดต่อกก
400 ตัว
-
-
อุณหภูมิในเครื่องกก
90-95 องศาF
-
-
จำนวนวันที่กก
10-15 วัน
-
-
การควบคุมอาหารและน้ำหนัก
-
เป็ดพันธุ์และเป็ดไข่

ให้อาหารเต็มที่


จำกัดอาหารและชั่งน้ำหนัก
ทุก 2 สัปดาห์

ให้อาหารเต็มที่

พื้นขี้กบ
-
เป็ดพันธุ์และเป็ดไข่

พื้นขี้กบต้องสะอาดปราศจากเชื้อรา ไม่ชื้นแฉะ หรือ แข็งเป็นแผ่น
ต้องมีก๊าสแอมโมเนีย ไม่เกิน 10-15 ppm. ใส่พื้นขี้กบหนา 4 นิ้ว
การเตรียมโรงเรือน
ต้องทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคอย่างถูกต้องและทั่วถึง
อัตราส่วนของลังไข่ (คิดเฉพาะแม่เป็ด)
-
-
4 ตัว ต่อ 1 ช่อง
การให้แสงสว่าง
-
เป็ดพันธุ์และเป็ดไข่

อายุ 2 วันแรก ให้ตลอด
24 ช.ม.หลังจากนั้นถึงอายุ
ครบ 7 สัปดาห์
ให้ 23 ช.ม./วัน

ไม่ให้แสงสว่าง
ช่วยในเวลากลางคืน



ให้แสงสว่าง
18 ช.ม./วัน



แหล่งผลิตและจำหน่ายพันธุ์เป็ด

1.
สถาบันวิจัยและพัฒนาสัตว์ปีกแห่งชาติ อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี โทร. 0-3721-3827
2.
สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์บางปะกง อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา โทร.0-3853-1649
4.
ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์สุราษฎร์ธานี อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี โทร.0-7728-6939

การคัดเป็ดออกจากฝูง

การคัดเป็ดออกจากฝูง
     

   การพิจารณาคัดเป็ดที่ไม่ไข่ออกจากฝูง เป็นสิ่งจำเป็น และสำคัญมาก เพราะเป็ดที่ไม่ไข่หรือไข่น้อย จะกินอาหารทุกวัน ทำให้ต้นทุนการผลิตไข่ต่อฟองสูงขึ้น เกษตรกรมีโอกาสขาดทุนได้ง่าย จึงควรพิจารณาดังนี้


          1. ประวัติการให้ไข่ ในกรณีเลี้ยงแบบกรงตับ ดูว่การให้ไข่มีความสม่ำเสมอหรือไม่ หากไข่ไม่สม่ำเสมอ เช่น ไข่ 1 ฟอง หยุดไข่ 3 วัน แล้วไข่ใหม่อีก 3 ฟอง แล้วหยุด 10 วัน ก็ทำการคัดออกทันที
          2. ดูลักษณะรูปร่างของเป็ด เปอร์เซนต์การไข่จะน้อยลง ซึ่งปกติเป็ดกบินทร์บุรี (กากีแคมเบลล์) จะมีอายุการไข่ประมาณ 15 เดือน ดังนั้นการที่จะปลดเป็ดไข่ออกนั้นจะต้องพิจารณาถึงราคาไข่ด้วย ถ้าราคาไข่ดี ถึงแม้ไข่น้อย ก็ยังมีกำไร แต่ถ้าพิจารณาแล้วว่าถ้าเลี้ยงต่อไปไม่คุ้มต่อต้นทุนการผลิต ก็ควรทำการคัดออก หรือปลดออกทั้งฝูง เพื่อขายส่งตลาด ปกติพ่อค้าจะรับซื้อในราคาเป็นตัวๆ ละ ประมาณ 30-38 บาท

โรคเป็ดและการป้องกัน

โรคเป็ดและการป้องกัน

         เป็ดเป็นสัตว์ปีกที่มีปัญหาเรื่องโรคน้อยกว่าไก่ หากทำการเลี้ยงในกรงตับด้วยแล้วปัญหาเรื่องโรคและอัตราการตายน้อยมาก โรคเป็ดที่สำคัญมีดังนี้   



          1. โรคอหิวาต์เป็ด
  สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง
  อาการ
เป็ดจะซึม เบื่ออาหาร กระหายน้ำจัด มีไข้สูงถ้าคลำดูที่คอและเท้าจะร้อน
   
มักจะจับกลุ่มกันอยู่ใกล้บริเวณรางน้ำ
   
อุจจาระมีสีขาวปนเขียวและมีลักษณะเป็นยางเหนียว
   
บางครั้งเป็ดจะตายอย่างกระทันหัน หรือถ้าเป็นเรื้อรังจะทำให้ข้อเข่า ข้อเท้าอักเสบบวม ทำให้เคลื่อนไหวลำบาก
   
ในเป็ดไข่จะทำให้ไข่ลดลงได้
  การรักษา
การใช้ยาซัลฟา หรือยาปฏิชีวนะจะช่วยลดความเสียหายในฝูงเป็ดที่เริ่มเป็นระยะแรก
   
ยาซัลฟา (ยาซัลฟา, ซัลฟาเมอราซีน, ซัลฟาเมทธารีน) ยาปฏิชีวนะ (คลอเตตร้าซัยคลิน, ออกซีเตตร้าซัยคลิน) ผสมอาหาร 500 กรัม ต่ออาหาร 1 ตัน จะช่วยลดความรุนแรงได้
  การป้องกัน
ทำวัคซีนป้องกันอหิวาต์เป็ด โดยทำครั้งแรกเมื่อเป็ดอายุ 2 เดือนและทำซ้ำทุก 3 เดือน โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้ออกตัวละ 1 ซี.ซี.
          2. โรคดั๊กเพลก (กาฬโรคเป็ด)
  สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส
  อาการ
เมื่อเป็นเป็ดจะแสดงอาการซึม ท้องร่วง เบื่ออาหาร ปีกตก ไม่ค่อยเคลื่อนไหว
   
มีน้ำตาไหลออกมาค่อนข้างเหนียว เมื่อเป็นมากจะมีน้ำมูกไหลออกมาด้วย
   
อุจจาระสีเขียวปนเหลือง บางครั้งมีเลือดปน บริเวณรอบๆ ทรวรจะแดงช้ำ
   
หายใจลำบาก
  การรักษา
ไม่มียารักษาโรคนี้ที่ได้ผล คงมีแต่การป้องกันเท่านั้น
  การป้องกัน
โดยการทำวัคซีนป้องกัน ดังนี้
     
 
ครั้งแรก
ทำเมื่อเป็ดอายุ 1 เดือน ทำซ้ำทุกๆ 6 เดือน โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อหน้าอก ตัวละ 1 ซี.ซี. หรือตามคำแนะนำในฉลากข้างขวด วัคซีนทั้งสองชนิด ซื้อได้ที่กรมปศุสัตว์ หรือที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดทั่วประเทศ
 
ครั้งที่สอง
เมื่อเป็ดอายุ 3 เดือน
 
ครั้งที่สาม
เมื่อเป็ดอายุ 6 เดือน

 ตารางการทำวัคซีนป้องกันโรคเป็ด

อายุ
วัคซีนที่ใช้
กาฬโรค
อหิวาต์เป็ด-ไก่
3 - 4 สัปดาห์
/
/
10 - 12 สัปดาห์
/
/
ทุกๆ 3 เดือน

/
ทุกๆ 6 เดือน
/

วิธีให้
ฉีดเข้ากล้าม
ฉีดเข้ากล้าม / ใต้ผิวหนัง

การให้แสงสว่าง

การให้แสงสว่าง

        แสงสว่างมีความสำคัญต่อเป็ดระยะต่างๆ เป็นอย่างมาก ซึ่งสามารถแบ่งระยะการให้แสงสว่างออกเป็น 2 ระยะคือ

          1. ระยะเป็ดเล็ก ในระยะนี้แสงช่วยให้ลูกเป็ดสามารถกินน้ำและอาหารได้ตลอดเวลา ทำให้การเจริญเติบโตของลูกเป็ดไม่ชะงัก และยังทำให้ลูกเป็ดสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดียิ่งขึ้น ควรให้แสงสว่างตลอดคืนในช่วงที่เป็ดเล็กจนถึงอายุ 8 สัปดาห์ หลังจากนั้นก็จะเป็นช่วงระยะที่ควบคุมปริมาณอาหารที่ให้แต่ละวัน ในช่วงนี้ควรงดการให้แสงสว่างในตอนกลางคืน
          2. โรคดั๊กเพลก (กาฬโรคเป็ด) ในระยะนี้มีความสำคัญมาก เป็ดถ้าได้รับการเพิ่มช่วงแสงของแต่ละวัน จะช่วยกระตุ้นความเจริญทางเพศให้มีการสร้างไข่อย่างสมบูรณ์เต็มที่

ตารางที่ 7 ระยะเวลาให้แสงสว่างสำหรับเป็ดไข่
อายุเป็ดไข่
ระยะเวลาให้แสงสว่าง
ฤดูร้อน
ฤดูฝน
ฤดูหนาว
19 สัปดาห์
20 สัปดาห์
21 สัปดาห์
22 สัปดาห์

23 สัปดาห์

24 สัปดาห์
18.00-19.00
18.00-20.00
18.00-21.00
18.00-21.00
05.00-06.00
18.00-21.00
04.00-06.00
18.00-21.00
03.00-06.00
17.30-18.30
17.30-19.30
17.30-20.30
17.30-20.30
05.00-06.00
17.30-20.30
04.00-06.00
17.30-20.30
03.30-06.30
17.00-18.00
17.00-09.00
17.00-21.00
17.00-21.00
05.30-06.30
17.00-21.00
04.30-06.30
17.00-21.00
03.30-06.30

          ในระยะเป็ดไข่นี้ใช้ความเข้มของแสงสว่าง 2.5 วัตต์ ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร โดยใช้หลอดไฟขนาด 60 วัตต์ สูงจากพื้น 8 ฟุต ส่วนระบบการให้แสงสว่างในโรงเรือน ถ้าสามารถทำได้ ควรใช้เครื่องควบคุมการให้แสงสว่างอัตโนมัติ ซึ่งสามารถเปิดปิดได้ตามเวลาที่ต้องการ มีความสะดวกรวดเร็วและปิดเปิดเป็นเวลาทุกวัน ไม่มีผลกระทบต่อการผลิตไข่ ส่วนการใช้คนเปิดปิดนั้นเวลาถ้าไม่แน่นอน จะทำให้มีผลกระทบต่อการไข่ของเป็ดได้        

สูตรอาหารเป็ดไข่ระยะต่างๆ

สูตรอาหารเป็ดไข่ระยะต่างๆ

 

ตารางที่ 4 สูตรอาหารเป็ดพันธุ์ไข่ระยะต่างๆ


ชนิดอาหาร
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่
1
2
ปลายข้าว
รำหยาบ
กากถั่วเหลือง
ปลาป่น 55%
ใบกระถินป่น
เปลือกหอยป่น
ไดแคลเซี่ยม
เกลือ
กรดอะมิโนไลซีน
กรดอะมิโนเมไธโอนีน
แร่ธาตุและวิตามิน
รวม
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
68.50
-
15.30
10.00
4.00
-
1.00
0.50
0.10
0.10
0.50
100.00
64.50
10.00
13.30
5.00
4.00
1.00
1.00
0.50
0.10
0.10
0.50
100.00
65.00
15.00
7.90
5.00
4.00
1.00
1.00
0.50
-
0.10
0.50
100.00
58.00
-
23.60
5.00
4.00
5.75
2.50
0.50
-
0.15
0.50
100.00
59.83
-
30.00
-
-
5.00
4.00
0.50
-
0.17
0.50
100.00
โปรตีน
พลังงานใช้ประโยชน์ได้
(%)
(กิโลแคลอรี่/ก.ก.)
18.70
3,077
15.40
2,740
13.20
2,640
18.70
2,750
18.44
2,770

ตารางที่ 5 ความต้องการโภชนะอาหารของเป็ดพันธุ์กบินทร์บุรีและพื้นเมืองปากน้ำ แยกตามอายุของเป็ด

โภชนะ
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่
พลังงาน
โปรตีน
อาจินีน
ฮีสติดีน
ไอโซลูซีน
ลูซีน
ไลซีน
เมไธโอนีน+ซีสตีน
เฟนิล+ไทโรซีน
ทรีโอนีน
ทริปโตเฟน
เวลีน
(ก.ก.แคลอรี/ก.ก.)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)

2,890
18.70
1.12
0.43
0.66
1.31
1.10
0.69
1.44
0.69
0.24
0.80
2,730
15.40
0.92
0.35
0.54
1.08
0.90
0.57
0.19
0.57
0.20
0.66
2,600
13.20
0.79
0.32
0.57
1.09
0.61
0.52
1.04
0.43
0.16
0.61
2,750
18.70
1.14
0.45
0.80
1.55
1.00
0.74
1.47
0.70
0.22
0.86
แคลเซียม
ฟอสฟอรัสใช้ได้
แมกนีเซียม
แมงกานีส
สังกะสี
เหล็ก
(%)
(%)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
0.90
0.36
500
47
62
96
0.90
0.36
500
47
62
96
0.90
0.36
500
47
62
96
3.00
0.43
500
60
72
72

ตารางที่ 6 ความต้องการไวตามินในอาหารผสมของลูกเป็ด เป็ดระยะเจริญเติบโต เป็ดรุ่น เป็ดไข่ และเป็ดพันธุ์

ไวตามิน (ม.ก./อาหาร 1 ก.ก.)
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่/เป็ดพันธุ์
ไวตามินเอ
ไวตามินดี
ไวตามินอี
ไวตามินเค
ไวตามินบี 1
ไวตามินบี 2
แพนโททีนิค
ไนอาซีน
ไวตามินบี 6
ไวตามินบี 12
โคลีคลอไรด์
ไบโอติน
โฟลิกแอซิค
(ไอยู/ก.ก.)
(ไอยู/ก.ก.)
(ม.ก./ก.ก.)

8,250
600
15
3
3.90
6
9.6
60
2.9
0.02
1,690
0.10
1.30
8,250
600
15
3
3.9
6
9.6
60
2.9
0.02
1,430
0.10
1.30
8,250
600
15
3
3.9
6
9.6
60
2.9
0.02
1,430
0.10
1.30
1,250
1,200
37
3
2.6
6
13.0
52
2.9
0.02
1,300
0.10
0.65

สูตรอาหารเป็ดสาวก่อนไข่ (อายุ 9-20 สัปดาห์)

วัตถุดิบ
ปริมาณ (กิโลกรัม)
สูตร 1
สูตร 2
สูตร 3
ปลายข้าว
ข้าวโพด
รำละเอียด
มันเส้น
รำหยาบ
กากถั่วเหลือง (44%)
ใบกระถินป่น
ปลาป่น (55%)
เปลือกหอยป่น
ไดแคลเซียมฟอสเฟต
เกลือป่น
พรีมิกซ์เป็ดไข่
0.00
40.80
30.00
0.00
10.00
6.95
4.50
5.00
1.00
1.00
0.50
0.25
40.85
0.00
30.00
0.00
10.00
6.90
4.50
5.00
1.00
1.00
0.50
0.25
0.00
0.00
30.00
35.20
10.00
11.45
4.50
6.00
1.00
1.00
0.50
0.25
รวม
100.00
100.00
100.00
โปรตีนในอาหาร (%)
พลังงานในอาหาร (กิโลแคลอรี่/ก.ก.)
15.00
2,645.00
15.00
2,698.00
15.00
2,645.00
ที่มา : กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์

สูตรอาหารเป็ดไข่ (อายุ 24-48 สัปดาห์)

วัตถุดิบ
ปริมาณ (กิโลกรัม)
สูตร 1
สูตร 2
สูตร 3
ปลายข้าว
ข้าวโพด
รำละเอียด
มันเส้น
กากถั่วเหลือง (44%)
ใบกระถินป่น
ปลาป่น (55%)
เปลือกหอยป่น
ไดแคลเซียมฟอสเฟต
น้ำมันพืช
ดีแอล-เมทไธโอนีน
เกลือป่น
พรีมิกซ์เป็ดไข่
47.39
0.00
15.00
0.00
17.81
3.00
7.00
7.50
1.20
0.00
0.35
0.50
0.25
0.00
51.50
10.00
0.00
18.75
3.00
7.00
7.50
1.20
0.00
0.30
0.50
0.25
0.00
0.00
10.00
43.65
25.05
3.00
8.00
7.50
1.20
0.50
0.35
0.50
0.25
รวม
100.00
100.00
100.00
โปรตีนในอาหาร (%)
พลังงานในอาหาร (กิโลแคลอรี่/ก.ก.)
18.00
2,743.00
18.00
2,708.00
18.00
2,735.00
ที่มา : กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์

สูตรอาหารเป็ดไข่ (อายุ 48-72 สัปดาห์)

วัตถุดิบ
ปริมาณ (กิโลกรัม)
สูตร 1
สูตร 2
สูตร 3
ปลายข้าว
ข้าวโพด
รำละเอียด
มันเส้น
กากถั่วเหลือง (44%)
ใบกระถินป่น
ปลาป่น (55%)
เปลือกหอยป่น
ไดแคลเซียมฟอสเฟต
ดีแอล-เมทไธโอนีน
เกลือป่น
พรีมิกซ์เป็ดไข่
0.00
45.85
25.00
0.00
10.75
3.50
7.00
6.00
1.10
0.05
0.50
0.25
41.80
0.00
30.00
0.00
9.75
3.50
7.00
6.00
1.10
0.10
0.50
0.25
0.00
0.00
25.00
39.30
17.25
3.00
7.50
6.00
1.10
0.10
0.50
0.25
รวม
100.00
100.00
100.00
โปรตีนในอาหาร (%)
พลังงานในอาหาร (กิโลแคลอรี่/ก.ก.)
16.00
2,723.00
16.00
2,750.00
16.00
2,730.00
ที่มา : กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์

อาหารเป็ด

อาหารเป็ด
ในปัจจุบัน มีหลายบริษัที่ผลิตอาหารสำหรับเป็ดหลายแบบ เกษตรกรสามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น อาหารผสมสำเร็จรูป ซึ่งนำไปใช้ได้ทันที หัวอาหารซึ่งจะต้องผสมกับรำละเอียดและปลายข้าวก่อนนำไปใช้ หรืออาจซื้อวัตถุดิบแต่ละชนิดมาผสมเอง เกษตรกรจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้ข้าวโพดเป็นอาหารเป็ด ถ้าหากจะใช้ข้าวโพดผสมเป็นอหาาร ควรใช้ในปริมาณน้อย และต้องแน่ใจว่าเป็นข้าวโพดคุณภาพดี ปราศจากเชื้อรา เนื่องจากเชื้อรา A,flavus สร้างสารพิษชื่อ alfatoxin ซึ่งมีผลต่อลูกเป็ดเป็นอย่างมาก เกษตรกรจะพบว่าในหัวอาหารหรืออาหารสำเร็จรูปจะใช้ข้าวโพดในปริมาณน้อย หรือไม่ใช้เลยจะดีที่สุด



อาหารเป็ดในบ้านเราสามารถแบ่งออกได้

          1. อาหารสำเร็จรูป เป็นอาหารเม็ด ซึ่งมีใช้เลี้ยงตั้งแต่แรกเกิดจนถึงระยะไข่ ซึ่งมีผลดีก็คือการจัดการให้อาหารสะดวกรวดเร็ว มีประสิทธิภาพการใช้อาหารสูงกว่า เป็ดใช้พลังงานในการกินอาหารน้อยกว่าแบบอื่น รางน้ำสะอาดไม่ค่อยสกปรก ประหยัดอาหารได้ 15-20% เพราะหกหล่นน้อยถึงแม้มีการหกหล่นก็สามารถเก็บกินได้อาหารที่ให้จะไม่ติดตาม รางอาหารทำให้รางอาหารสะอาดอยู่เสมอ ไม่หมักหมมเชื้อโรค แต่มีข้อเสียคือ อาหารมีราคาแพง ซึ่งทำให้ผู้เลี้ยงต้องพิจารณาถึงความคุ้มทุนด้วย
          2. เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้หัวอาหารเป็ดเป็นหลักในการประกอบสูตรอาหาร หัวอาหารเป็นอาหารเข้มข้นที่ผสมจากวัตถุดิบอาหารสัตว์พวกโปรตีนจาก พืช สัตว์ ไวตามิน แร่ธาตุและยาบางชนิด ยกเว้น พวกธัญพืช หรือวัตถุดิบบางอย่าง ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและลดต้นทุนค่าอาหารของผุ้ซื้อแต่ละท้องถิ่นที่มีวัตถุดิบบางอย่างราคาถูก เช่น ปลายข้าว รำละเอียด และรำหยาบ เมื่อผสมกันแล้วจะจได้อาหารสมดุลย์ที่มีโภชนะต่างๆ ครบถ้วนตามความต้องการของร่างกายสัตว์ ก่อนนำอาหารผสมนี้ไปเลี้ยงเป็ดต้องคลุกน้ำให้พอหมาดๆ ร่วนไม่เกาะเป็นก้อน จะช่วยให้เป็ดกินอาหารได้ดี ลดการฟุ้งกระจายและการหกหล่นได้มาก วิธีนี้จะมีความยุ่งยากกว่าวิธีแรก แต่ก็เป็นที่นิยมใช้อยู่ เพราะอาหารผสมจะมีราคาถูก
          อาหารเป็ดในระยะไข่นั้นมักเติมสารเพิ่มสีในไข่ด้วยเป็นวัตถุ สังเคราะห์ทางเคมีพวกคาโรทีนอยส์ชื่อทางการค้าต่างๆ เช่น Carophyll Red ใส่ลงไปในอาหารทำให้ไข่แดงมีสีเหลืองเข้มเป็นที่นิยมของผู้บริโภค กรณีไข่เป็ด ถ้าไข่แดงสีเข้มจัด นิมยใช้ทำไข่เค็ม และราคาไข่เป็ดจะมีราคาแพงกว่าธรรมดาประมาณ 10 สตางค์/ฟอง ทั้งนี้เนื่องจากสารเพิ่มสีมีราคาแพงประมาณ 4,000 บาท/ก.ก.

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 21 สัปดาห์ขึ้นไป

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 21 สัปดาห์ขึ้นไป

      

  เมื่อเป็ดอายุได้ 21 สัปดาห์ก็จะเริ่มไข่ ในระยะนี้เป็ดต้องการอาหารสำหรับเป็ดไข่ที่มีคุณค่าทางโภชนะค่อนข้างสูง ปริมาณอาหารที่ให้ขึ้นอยู่กับผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อเป็ดเริ่มไข่จะกินอาหารวันละประมาณ 100 กรัม/ตัว/วัน ก็เพียงพอสำหรับการผลิตไข่ในช่วงเแรก น้ำหนักไข่ประมาณ 45 กรัม นอกจากนี้ขนาดไข่เพิ่มขึ้นตามปริมาณอาหารที่ให้และตามอายุของเป็ด เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของไข่ก็ใหญ่ขึ้นตามไปด้วย ปริมาณอาหารที่ใช้จะอยู่ระหว่าง 140-160 กรัม/ตัว/วัน ถ้าหากให้อาหารไม่เต็มที่ขนาดของไข่ก็จะเล็กลงเช่นกัน ทั้งนี้ปริมาณอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ผู้เลี้ยงจะต้องพิจารณาว่าอาหารที่ใช้เลี้ยงมากน้อยเพียงใด ถ้าอาหารหมดเร็วก็ให้เพิ่มขึ้น ถ้าอาหารเหลือก้ลดปริมาณลง ถ้าในบางครั้งจะมีการใช้อาหารมากเกินไป ทำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น ซึ่งอาจมีสาเหตุต่างๆ ดังนี้
           1. หัวอาหารสำหรับเป็ดไข่ ที่ใช้ในการผสมกับวัตถุดิบอื่นๆ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูงประมาณ 16 บาท/ก.ก. อัตราส่วนที่ใช้ผสมกับรำละเอียด ปลายข้าว และรำหยาบ โดยใช้ประมาณ 25-35% ในสูตรอาหาร เกษตรกรอาจจะชั่งน้ำหนักหัวอาหารมากเกินความจำเป็นทำให้ต้นทุนของอาหาร/ก.ก. เพิ่มสูงขึ้นไปด้วย
           2. ในการให้อาหารเป็ดไข่ ต้องให้น้อยๆ ก่อนในระยะแรกแล้วจึงค่อยๆ เพิ่มในภายหลัง เพราะเป็ดไข่ในช่วงเช้าจะกินอาหารอย่างเร็ว ซึ่งถ้ามีปริมาณอาหารมากในราง จำทำให้อาหารหกหล่นมาก ทุกครั้งก่อนให้อาหารควรทำความสะอาดรางน้ำก่อนและเติมน้ำให้เรียบร้อย ควรให้อาหารวันละ 3 ครั้ง ซึ่งจะทำให้ปริมาณอาหารหกหล่นน้อย แต่หากมีเวลาน้อยก็ให้อาหารอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง คือ เช้าและบ่าย การให้อาหารแต่ละครั้งให้พิจารณาว่า เมื่อให้อาหารมื้อเช้ากะว่าอาหารที่ให้จะหมดพอดีหรือเหลือบ้างนิดหน่อย จนถึงเวลาให้อาหารมื้อต่อไป
          สำหรับการจัดการเรื่องรางน้ำ รางอาหาร การทำความสะอาดโรงเรือนและการทำความสะอาดกรงเป็ด ก็ดำเนินการเช่นเดียวกับเป็ดรุ่น แต่ในช่วงเป็ดกำลังให้ไข่ควรพิถีพิถันมากกว่าเป็ดรุ่น เพราะถ้าเป็ดเกิดตกใจ หรือได้รับความเครียดจากสภาพทั่วไป จะทำให้ผลผลิตน้อยลง ซึ่งในช่วงนี้มีข้อปฏิบัติดังนี้
              2.1 การทำความสะอาดโรงเรือน และอุปกรณ์ต่างๆ ควรระมัดระวังให้เป็ดตกใจน้อยที่สุด และควรทำให้อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อให้เป็ดเกิดความเคยชิน
              2.2 การเปลี่ยนสูตรอาหารในแต่ละครั้ง ควรค่อยๆ เปลี่ยน หากเปลี่ยนโดยทันทีอาจทำให้เป็ดท้องเสีย ผลผลิตลดลงได้
              2.3 การจับเป็ดในเวลาทำวัคซีน ต้องพยายามจับให้นิ่มนวลที่สุดเท่าที่จะทำได้
              2.4 อย่าให้หนู แมว หมา มาป้วนเปี้ยนบริเวณกรงตับ หรือโรงเรือนที่เลี้ยง
              2.5 ในเวลากลางคืน ควรมีน้ำให้เป็ดได้กินตลอดคืน

ตารางที่ 4 สูตรอาหารเป็ดพันธุ์ไข่ระยะต่างๆ

ชนิดอาหาร
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่
1
2
ปลายข้าว
รำหยาบ
กากถั่วเหลือง
ปลาป่น 55%
ใบกระถินป่น
เปลือกหอยป่น
ไดแคลเซี่ยม
เกลือ
กรดอะมิโนไลซีน
กรดอะมิโนเมไธโอนีน
แร่ธาตุและวิตามิน
รวม
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
(ก.ก.)
68.50
-
15.30
10.00
4.00
-
1.00
0.50
0.10
0.10
0.50
100.00
64.50
10.00
13.30
5.00
4.00
1.00
1.00
0.50
0.10
0.10
0.50
100.00
65.00
15.00
7.90
5.00
4.00
1.00
1.00
0.50
-
0.10
0.50
100.00
58.00
-
23.60
5.00
4.00
5.75
2.50
0.50
-
0.15
0.50
100.00
59.83
-
30.00
-
-
5.00
4.00
0.50
-
0.17
0.50
100.00
โปรตีน
พลังงานใช้ประโยชน์ได้
(%)
(กิโลแคลอรี่/ก.ก.)
18.70
3,077
15.40
2,740
13.20
2,640
18.70
2,750
18.44
2,770

ตารางที่ 5 ความต้องการโภชนะอาหารของเป็ดพันธุ์กบินทร์บุรีและพื้นเมืองปากน้ำ แยกตามอายุของเป็ด

โภชนะ
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่
พลังงาน
โปรตีน
อาจินีน
ฮีสติดีน
ไอโซลูซีน
ลูซีน
ไลซีน
เมไธโอนีน+ซีสตีน
เฟนิล+ไทโรซีน
ทรีโอนีน
ทริปโตเฟน
เวลีน
(ก.ก.แคลอรี/ก.ก.)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)
(%)

2,890
18.70
1.12
0.43
0.66
1.31
1.10
0.69
1.44
0.69
0.24
0.80
2,730
15.40
0.92
0.35
0.54
1.08
0.90
0.57
0.19
0.57
0.20
0.66
2,600
13.20
0.79
0.32
0.57
1.09
0.61
0.52
1.04
0.43
0.16
0.61
2,750
18.70
1.14
0.45
0.80
1.55
1.00
0.74
1.47
0.70
0.22
0.86
แคลเซียม
ฟอสฟอรัสใช้ได้
แมกนีเซียม
แมงกานีส
สังกะสี
เหล็ก
(%)
(%)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
(มก./ก.ก.)
0.90
0.36
500
47
62
96
0.90
0.36
500
47
62
96
0.90
0.36
500
47
62
96
3.00
0.43
500
60
72
72

ตารางที่ 6
ความต้องการไวตามินในอาหารผสมของลูกเป็ด เป็ดระยะเจริญเติบโต เป็ดรุ่น เป็ดไข่ และเป็ดพันธุ์

ไวตามิน (ม.ก./อาหาร 1 ก.ก.)
อายุเป็นสัปดาห์
0-4
4-9
9-20
เป็ดกำลังไข่/เป็ดพันธุ์
ไวตามินเอ
ไวตามินดี
ไวตามินอี
ไวตามินเค
ไวตามินบี 1
ไวตามินบี 2
แพนโททีนิค
ไนอาซีน
ไวตามินบี 6
ไวตามินบี 12
โคลีคลอไรด์
ไบโอติน
โฟลิกแอซิค
(ไอยู/ก.ก.)
(ไอยู/ก.ก.)
(ม.ก./ก.ก.)

8,250
600
15
3
3.90
6
9.6
60
2.9
0.02
1,690
0.10
1.30
8,250
600
15
3
3.9
6
9.6
60
2.9
0.02
1,430
0.10
1.30
8,250
600
15
3
3.9
6
9.6
60
2.9
0.02
1,430
0.10
1.30
1,250
1,200
37
3
2.6
6
13.0
52
2.9
0.02
1,300
0.10
0.65